人気ブログランキング | 話題のタグを見る

Diary Krungtheep



カラバオバンドの歴史(2)/ประวัติวงคาราบาว(2)

ประวัติวงคาราบาว(2)

カラバオバンドの歴史(2)

ครบรอบ ๒๕ ปี คาราบาว พ.ศ. ๒๕๔๙

仏暦2549年 カラバオ25周年

ในปี พ.ศ. 2529 อัลบั้มชุดที่ 7 “ประชาธิปไตย” ด้วยกระแสการเรียกร้องประชาธิปไตยในสถานการณ์บ้านเมืองในยุคนั้นต้องการประชาธิปไตย คาราบาวสะท้อนภาพการได้มาซึ่งประชาธิปไตยผ่านบทเพลง ไม่ว่าจะเป็นเพลง ประชาธิปไตย ผู้ทน และยังมีบทเพลงที่ปลุกใจอย่างเจ้าตาก ที่กระหึ่มกึกก้อง ทั่วธรนิน และบทเพลงอื่นๆ อีก ที่ล้วนแล้วแต่เป็นบทเพลง ที่มีคุณค่าต่อสังคมไทย และอัลบั้มนี้โดน กบว. แบนเพลงคาราบาวไปสามเพลงตามระเบียบ
カラバオバンドの歴史(2)/ประวัติวงคาราบาว(2)_f0034216_18291266.jpg
仏暦2529年に7枚目のアルバム"prachaathipathai"(民主主義)が当時の民主主義を要求するタイ社会の状況の中で送り出された。カラバオは曲を通して民主主義がどのように獲得されてきたかということを映し出した。"prachaathipathai"あるいは"phuu thon"など、どのような曲であろうと、"Cao Taak"(ターク王)の曲のように人々を強く勇気づけ、どこにいても、よく聴くことができるような曲が収められていた。さらに、そのほかの曲も、タイ社会にとって価値のある曲ばかりであった。しかし、このアルバムは「ラジオ・テレビ事業運営委員会」の規定により3曲が放送禁止となった。


ในปี พ.ศ. 2530 อัลบั้มชุดที่ 8 “เวลคัมทูไทยแลนด์” หรือเวรกรรมสู่ไทยแลนด์ คาราบาวออกอัลบั้มนี้มาต้อนรับเทศกาลท่องเที่ยวไทยในยุคนั้น เพื่อที่จะชักชวนชาวต่างชาติเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทย ดนตรีในชุดนี้เป็นดนตรีที่ฟังสบายๆ มีกลิ่นอายของความเป็นไทย อย่างเช่น เวลคัมทูไทยแลนด์ หรือเพลงที่ฟังง่ายอย่างเพลง สบายกว่า ที่ร้องแนวประชดประชัน หรือเพลงบาปบริสุทธิ์ ที่เป็นเรื่องราวของคนรักกันที่ส่งผลถึงลูก หรือเพลงสังกะสี ที่สะท้อนชีวิตของกรรมกร และในอัลบั้มชุดนี้เอง ได้สร้างนักร้องน้องใหม่ของวงการดนตรีไทยขึ้นมา ด้วยเพลงสนุกสนานที่ชื่อ กระถางดอกไม้ให้คุณ โดยอนุพงษ์ ประถมปัทมะ (อ๊อด) มือเบสของคาราบาว
カラバオバンドの歴史(2)/ประวัติวงคาราบาว(2)_f0034216_18301442.jpg
仏暦2530年、8枚目のアルバム"Welcome to Thailand"あるいは"ween kam suu thai"(タイへの災い)が、外国からの観光客誘致のための当時の観光フェスティバルを歓迎してリリースされた。このアルバムの楽曲は、"Welcome to Thailand"のように聞いて楽しく、タイの香りが漂うものだった。あるいは、皮肉をこめて歌われた"sabaai kwaa"や、愛し合っている二人が、子供に無実の罪を与えてしまうことを歌った"paap borisut"、労働者の生活を映し出した"sangkasii"という曲などのように聴いて分かりやすい曲だった。さらに、このアルバムはカラバオバンドのベースギター奏者であるAnuphon Prathompattama(Ot)による"krathaang dookmai hai kun"という大変楽しい曲によって、タイの音楽界の新しい歌手をつくりあげた。

*「"Welcome to Thailand"あるいは"ween kam suu thai"(タイへの災い)」・・・書き手による言葉遊びか(?)


ในปี พ.ศ. 2531 อัลบั้มชุดที่ 9 “ทับหลัง” สถานการณ์ของประเทศไทยในช่วงนั้น เป็นการต่อสู้เพื่อทวงทับหลังนารายณ์บรรทมศีลที่ไปตกอยู่ในมือของต่างชาติกลับคืนมา โดยมีรัฐบาลไทยได้ทำการเรียกร้องขอคืน ซึ่งหลังจากนั้นทางประเทศไทยได้ทับหลังคืนมาสู่แผ่นดินแม่ได้ และไม่น่าเชื่อว่า อัลบั้มชุดทับหลัง จะเป็นอัลบั้มชุดสุดท้ายของการทำงานของสมาชิกคาราบาวทั้ง 7 คน ด้วยเหตุผลอื่นๆอีกมากมาย ที่ไม่สามารถทำให้สมาชิกคาราบาวรวมตัวกันทำงานต่อไปได้
カラバオバンドの歴史(2)/ประวัติวงคาราบาว(2)_f0034216_1832049.jpg
仏暦2531年9枚目のアルバム"thap lang"がリリースされた。当時のタイは外国人の手に落ちたทับหลังนารายณ์บรรทมศีลを取り戻すべく戦っていた状況にあった。タイ政府は返還を要求をし、その後、母なる地であるタイににthap langは返還された。そして信じられないことだが、カラバオのメンバーが共同の活動を継続していくことを不可能にした様々なその他の理由により、アルバム"thap lang"が7人のカラバオバンドメンバーの制作による最後のアルバムになった。


แต่อย่างไรก็ตาม ยืนยง โอภากุล (แอ๊ด คาราบาว) หัวเรือใหญ่ของวงคาราบาว ก็ได้ให้คำสัญญากับพี่น้องแฟนเพลงคาราบาวในคอนเสิร์ตเวทีสุดท้าย ก่อนจะเหลือเพียงความทรงจำ เอ็มบีเคฮอล์ มาบุญครองเซ็นเตอร์ ในคอนเสิร์ต ฅน คาราบาว ว่า ถึงจุดที่สมาชิกคาราบาวต้องแยกย้ายออกไปจากคาราบาว ไปทำในสิ่งที่ตัวเองอยากทำ แต่ถึงอย่างไรก็ยังมีคาราบาวต่อไป
しかし、どのような形であろうと、カラバオバンドのリーダーであるYwngyong Opakun(Eet Carabao)は、記憶だけを残す前に、マーブンクローンセンターのMBKホールでの最後のコンサート"ฅน(khon) Carabao"のステージでカラバオファンに約束をした。「カラバオのメンバーがカラバオから分かれて、それぞれのメンバー自身が望む活動をしなければならない時が来た。しかし、たとえそうであっても、カラバオはこれからも存在していく。」と。


ในปี พ.ศ. 2533 เหลือสมาชิกในวงเพียง 4 คน ประกอบไปด้วย แอ๊ด เขียว เล็ก และอ๊อด ที่ยังคงเป็นแกนนำของคาราบาวในอัลบั้มชุดนี้ โดยมีวงตาวัน เข้ามาเป็นแบ๊คอัพ และสร้างสรรค์อัลบั้มชุดที่ 10 ขึ้นมา โดยใช้ชื่อชุดว่า “ห้ามจอดควาย” ขึ้นมาในนามของคาราบาว โดยมีสีสันทางด้านดนตรีต่างไปจากชุดเดิม แต่ก็ยังคงบทเพลงแนวทางเดิมของคาราบาว เพลงเด่นในชุดนี้ได้แก่ สัญญาหน้าฝน ที่แอ๊ด คาราบาว เขียนขึ้นให้เพื่อนรัก เขียว คาราบาวได้ร้องเพลงนี้ จนเป็นบทเพลงประจำตัวของเขียวคาราบาวไปเลย และบทเพลงถึกควายทุย ค.เขาเดียว ในอัลบั้มนี้ ถือเป็นบทเพลงภาคสุดท้ายของบทเพลงถึกควายทุยที่ถูกเล่าขานตั้งแต่ชุดที่ 1 ถึงชุดนี้
カラバオバンドの歴史(2)/ประวัติวงคาราบาว(2)_f0034216_18333844.jpg
仏暦2533年、残った4人の主軸であるEet,Khiao,LekそしてOtから成るメンバー、そしてWongtawanのバックアップにより、10枚目のアルバムがカラバオの名で"haam cot khwaai"という名で制作された。このアルバムは音楽面において以前と異なっていたが、カラバオのそれまでのスタイルが維持されていた。このアルバムで突出した曲はEet Carabaoが愛する友であるKhiao Carabaoのために書き、Khiaoが歌った曲すなわち"sanyaa naa fon"であった。それは、その後Khiao Carabao自身の持ち歌になった。そして、このアルバムの"twk kwaai thui"すなわち"khoo khao diao"は1枚目のアルバムからこのアルバムまで歌い続けられたtwk kwaai thuiの最後の部分であるとされた。


หลังจากอัลบั้มชุดที่ 10 "ห้ามจอดควาย" สมาชิกของคาราบาวอีก 3 คนที่เหลือ ประกอบไปด้วย เทียรี่ เมฆวัฒนา อาจารย์ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี และ อำนาจ ลูกจันทร์ รวมตัวกันเริ่มไปทำงานเดี่ยวของตัวเอง และนอกจากนั้น ยืนยง โอภากุล ปรีชา ชนะภัย กีรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร ก็ได้ทยอยไปทำงานเดี่ยวของตนเองเช่นกัน
10枚目のアルバム"haam cot khwaai"以後、残っていたほかの3人のカラバオのメンバーであるThiarii Mekwatanaa,Aacaanthanit SriklindiiそしてAmunat Luukcanも、それぞれソロ活動を始めた。そのほかYwngyong Opakun,Priicha Chanaphai,Kirati Pomsaka Na Sakon Nakon達も引き続いて同様にソロ活動をしていった。


ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นกับสมาชิกคาราบาวทั้ง 7 คน เป็นคำตอบของแฟนเพลงคาราบาว แต่ความเป็นจริงแล้ว การแยกย้ายกันออกไปทำเดี่ยวของแต่ละคนนั้น เป็นสิ่งที่เราเรียกว่าการถึงจุดอิ่มตัวของความเป็นคาราบาวการทำงานด้วยกันมานานของสมาชิกทั้ง 7 คนนั้น ความขัดแย้งในการทำงานย่อมมีขึ้นเป็นธรรมดา แต่อย่างไรก็ดี สมาชิกทุกคนก็ยังไปมาหาสู่และช่วยเหลือซึ่งกันและกันโดยตลอด
7人のカラバオメンバーの中の背反はカラバオのファンへの回答であった。しかし実際のところ、背反は、7人ものメンバーの長期にわたるカラバオとしての共同活動の飽和点と我々が呼ぶものとして、それぞれのメンバーのソロ活動を生み出した。活動に中で背反は当然生じる。しかし、それがどうであれ、良かったことは、それぞれのメンバーが、ずっと行き来しあい、援助し合っていたことである。


ในปี พ.ศ. 2534 คาราบาวโดยหัวเรือใหญ่ แอ๊ด คาราบาว ได้ออกอัลบั้มชุดที่ 11"วิชาแพะ" โดยมีสมาชิกคาราบาวเพียง 3 คนเท่านั้นคือ แอ๊ด เล็ก และอ๊อด และได้นักดนตรีอาชีพเข้ามาช่วยทำงานให้คาราบาว อาทิเช่น ลือชัย งามสม (ดุก) ตำแหน่งคีย์บอร์ด, ชูชาติ หนูด้วง (โก้) ตำแหน่งกลอง, ขจรศักดิ์ หุตะวัฒนะ (หมี) ตำแหน่งกีต้าร์, ศยาพร สิงห์ทอง (น้อง) ตำแหน่งเพอร์คัสชั่น โดยแนวทางดนตรีของอัลบั้มชุดวิชาแพะนี้ จะมีหลากหลาย แต่ก็ยังคงแนวทางการเมืองอยู่ อาทิเช่นเพลง นาย ก. เป็นการเรียกร้องผู้ที่จะมาดำรงตำแหน่งผู้นำของประเทศจะต้องมาจากการเลือกตั้งของประชาชน
カラバオバンドの歴史(2)/ประวัติวงคาราบาว(2)_f0034216_1835334.jpg
仏暦2534年Eed Carabaoをリーダーとするカラバオは11枚目のアルバム"wichaa phe"をリリースした。メンバーはたった3人だけ、すなわちEet,LekそしてOtであった。さらに、プロミュージッシャン、たとえばキーボード奏者のSwwchai Ngaamsom(Duk)、ドラマーのChuuchaat Nuuduwang(Koo),ギター奏者のKhacook Hutawatana(Mii),パーカッション奏者のSayaaphon Singnong(Nong)達の援助も得た。アルバム"wichaa phee"の音楽的な方向性は様々あったが、政治に対する方向性は維持されていた。たとえば"naai koo"という曲では国家の指導者の地位は国民によ選挙によらなければならないと主張した。
カラバオバンドの歴史(2)/ประวัติวงคาราบาว(2)_f0034216_15305771.jpg

(左からหไมี/Mii, โก้/Koo, เล็ก/Lek, แอ๊ด/Eet, เทียรี่/Thiarii, อ๊อด/Ot, ดุก/Duk, น้อง/Noong, อ้วน/Uan)


ในปี พ.ศ. 2535 อัลบั้มชุดที่ 12 “สัจจะ 10 ประการ” คาราบาวเกาะสถานการณ์การเมืองไทย รวมถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ คาราบาวได้แต่งเพลงให้สำหนับนักการเมือง อาทิเช่น เพลงสัจจะ 10 ประการ หรือเพลงเกี่ยวกับการอนุรักษ์น้ำ เพลงน้ำ เพราะสถานการณ์ช่วงนั้น ประเทศไทยเข้าสู่ภาวะวิกฤตขาดแคลนน้ำ รัฐบาลออกมารณรงค์ให้ประชาชนคนไทยร่วมกันประหยัดน้ำ และรัฐบาลได้เลือกวงดนตรีคาราบาว ให้ทัวร์คอนเสิร์ตรณรงค์เรื่องน้ำด้วยเช่นกัน
カラバオバンドの歴史(2)/ประวัติวงคาราบาว(2)_f0034216_18364642.jpg
仏暦2535年の12枚目のアルバム"satca 10 prakaan"でカラバオはタイの政治状況、同時に天然資源保護について固執した。カラバオは政治家についての曲、たとえば"satca 10 prakaan"や水資源保護についての曲"pleeng nam"を作った。というのは当時のタイは、危機的な水不足の状況で、政府は人々に水の節約を訴えるキャンペーンを行っていたからである。そして、政府はカラバオバンドを水節約キャンペーンのためのコンサートツアーをするために選んだのである。


ในปี พ.ศ. 2536 เป็นอัลบั้มชุดที่ 13 “ช้างไห้” โดยมีแกนนำคาราบาวเพียง 2 คนเท่านั้นคือ แอ๊ด กับ อ๊อด พร้อมกับนักดนตรีแบ็คอัพชุดเดิม ร่วมกันสร้างสรรค์ผลงานเพลงในชุดช้างไห้นี้ โดยอัลบั้มนี้จะพูดถึงเรื่องธรรมชาติ การใช้ชีวิตของคน และบทเพลงที่ให้กำลังใจ
カラバオバンドの歴史(2)/ประวัติวงคาราบาว(2)_f0034216_18372533.jpg
仏暦2536年、13枚目のアルバム"chaang hai"が、たった2人の中心メンバー、すなわちEetとOtによって発表された。バックアップバンドとして以前と同じミュージッシャンとの共同で、このアルバム"chaang hai"は制作された。このアルバムで自然と人の生活について語り、人々を勇気づけた。


ในปี พ.ศ. 2537 อัลบั้มชุดที่ 14 “คนสร้างชาติ” คาราบาวเขียนบทเพลง คนสร้างชาติขึ้นมา เพื่อปลุกจิตสำนึกให้กับคนไทยให้รักชาติ และได้คุณพยัคฆ์ คำพันธุ์ เซียนพระมือหนึ่งแห่งประเทศไทย มาแต่งเพลงหลวงพ่อคูณให้กับคาราบาว สร้างความโด่งดังไปทั่วเมือง และในอัลบั้มนี้ ในฐานะคนเพื่อชีวิตแอ๊ดคาราบาวได้แต่งเพลง ครบรอบ 20 ปีคาราวานให้กับวงคาราวานอีกด้วย
カラバオバンドの歴史(2)/ประวัติวงคาราบาว(2)_f0034216_18382328.jpg
仏暦2537年14枚目のアルバム"khon saang chaat"でカラバオは、タイ人に民族を愛する心に目覚めさせるために"khon saang chaat"という曲を書いた。そしてタイの仏像制作の専門家の一人であるPhayak Khamphat氏はカラバオのために国内中で名を知られた"Kuun高僧"の曲を作った。同時に、このアルバムの中で、プアチウィットの友人としてエット カラバオはカラワンバンドの20周年記念に曲を書いた。


ในปี พ.ศ. 2538 อัลบั้มชุดที่ 15 “แจกกล้วย” คาราบาวได้พูดการกระจายอำนาจไปสู่การเมืองระดับท้องถิ่น ในเพลงกำนันผู้ใหญ่บ้าน และเพลงที่เสียดสีผู้ที่โกงกินบ้านเมืองกับเพลง ค้างคาวกินกล้วย และเพลงเดินขบวนที่พยายามบอกกับรัฐบาลว่า ชาวบ้านเดือดร้อนจึงเดินขบวนประท้วงเรียกร้องกับปัญหาที่เกิดขึ้นต่างๆ
カラバオバンドの歴史(2)/ประวัติวงคาราบาว(2)_f0034216_1839650.jpg
仏暦2538年15枚目のアルバム"ceek kluai"でカラバオは、"kamnan phuyai baan"の曲で権力を地方レベルの政治まで分散させることについて語った。さらに"khaang khaao kin kluai"の曲によって国政で汚職をする人について皮肉った。"daan khabuan"という曲では、民衆が苦しみ、その結果デモによって抗議し訴えているのは、汚職によって生じた様々な問題のためであると政府に訴えかけようとした。


อีกไม่กี่เดือนผ่านมาในปี พ.ศ. 2538 สิ่งที่แฟนเพลงคาราบาวรอคอยก็มาถึง สมาชิกคาราบาวทั้ง 7 คน ได้กลับมารวมตัวกันเฉพาะกิจ ในวาระครบรอบ 15 ปีคาราบาว และได้ร่วมกันสร้างสรรค์ผลงานเพลงออกมาในอัลบั้มชุดที่ 16 ให้ชื่ออัลบั้มว่า "หากหัวใจยังรักควาย" ประกอบไปด้วย “หากหัวใจยังรักควาย1 และหากหัวใจยังรักควาย 2” บทเพลง 20 เพลงเต็มอิ่มสมกับการรอคอยที่ยาวนาน โดยมีเพลงจังหวะสามช่า เพลงสามช่าคาราบาว เป็นเพลงที่เล่าเรื่องราว 15 ปีของคาราบาวได้เป็นอย่างดี และมีเพลงอื่นๆ ที่เกาะสถานการณ์อย่างเช่น อองซานซูจี เต้าหู้ยี้ รวมถึงบทเพลงแนวปรัชญาอย่างเช่นเพลง ลุงฟาง เป็นต้น
カラバオバンドの歴史(2)/ประวัติวงคาราบาว(2)_f0034216_18395978.jpg
カラバオバンドの歴史(2)/ประวัติวงคาราบาว(2)_f0034216_18435113.jpg
数ヵ月後の仏暦2538年カラバオファンの待ち望んでいたことが到来した。7人全てのカラバオメンバーが戻り、カラバオ15周年に限定して結成された。そして16枚目のアルバムが共同で制作された。アルバムは"haak hua cai yang rak khwaai"という名で"haak hua cai yang rak khwaai 1"と"haak hua cai yang rak khwaai 2"から構成された。アルバムに収められた20曲は長い間待ち望んだものに十分ふさわしいものだった。saam chaaのリズムでsaam chaa Carabaoは15年間のカラバオを分かりやすく語った。そのほか”アウンサンスーチー”、"เต้าหู้ยี้"(?)などの状況に固執した曲や"lugg faang"などの哲学的な曲も収められた。


ในปี พ.ศ. 2540 อัลบั้มชุดที่ 17 “เส้นทางสายปลาแดก” บทเพลงในอัลบั้มนี้เป็นบทเพลงที่ร่วมอนุรักษ์ความเป็นไทย เช่น เพลงน้ำพริกแกงป่า เพลงกลองยาว และยังเป็นการครบรอบปีที่ 12 ของบทเพลงเมดอินไทยแลนด์ ซึ่งมีการเรียบเรียงดนตรีใหม่มาไว้ในอัลบั้มนี้ด้วย
カラバオバンドの歴史(2)/ประวัติวงคาราบาว(2)_f0034216_18405586.jpg
仏暦2540年、17枚目のアルバム"sentaang saai plaa deet"がリリースされた。このアルバムの中の曲は、たとえば"namphrik kengpao"や"klonng yaao"のように、タイらしさを共に守っていこうという内容だった。さらに"Made in Thailand"が12周年記念として新たに音楽的に編纂しなおされ、このアルバムに収められた。







by namkeng | 2007-11-14 15:01 | Artist/ศิลปิน
<< 「思うこと」 エット カラバオ... คอนเสิร์ต คารบา... >>


バンコクで目にしたことを徒然に・・・

by namkeng
S M T W T F S
1 2
3 4 5 6 7 8 9
10 11 12 13 14 15 16
17 18 19 20 21 22 23
24 25 26 27 28 29 30
31